สรุปวิจัยเกี่ยวกับวิทยาสาสตร์สำหรับเด้กปฐมวัย
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ
1) ศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
2) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ประสบการณ์โดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ระหว่างก่อนกับหลังการจัดประสบการณ์
การวิจัย เรื่อง ผลการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาล
ปีที่ 2
1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่
2 ที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยเน้น
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ภาพรวมอยู่ในระดับดี
(
X
= 2.51, S.D. = 0.49) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ใช้กระบวนการจัดประสบการณ์โดยเน้นเด็กเป็นส าคัญ โดยให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง
มีการใช้สื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกับจุดประสงค์และเนื้อหาที่สอน เหมาะสม
กับวัย ความสนใจ และความต้องของเด็ก ประกอบกับกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบที่มุ่งเน้นทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ เช่น การสังเกต การฟัง การสาธิต การทดลองลงมือกระท าด้วยตนเอง โดยครูเป็นผู้เสนอแนะวิธีการค้นหา
ค าตอบ โดยใช้วิธีการต่างๆ พยายามชี้แนะแนวทางค้นค าตอบ เน้นกระบวนการที่เด็กเป็นผู้คิด ลงมือปฏิบัติ ศึกษา
ค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย โดยค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ท าให้การเรียนรู้เกิดขึ้น
ระหว่างที่เด็กมีส่วนร่วมโดยตรงในการท ากิจกรรม ท าให้มีความสามารถในการสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาด้วย
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ สอดคล้องกับหลักการของ วราภรณ์ รักวิจัย ที่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
กิจกรรมที่จะท าให้เด็กเกิดการเรียนรู้สูงสุดนั้น จะต้องเป็นกิจกรรมที่เด็กสนใจลงมือค้นคว้ากระท าด้วยตนเอง โดยมี
ครูเป็นผู้ชี้แนะและสนับสนุนคอยช่อยเหลือ เด็กท ากิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย สอดคล้องกับพัฒนาการ ด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา เป็นประสบการณ์ตรงจากการได้เล่นลงมือปฏิบัติจริงและมีการกระท าร่วมกับบุคคลอื่น
โดยเฉพาะกลุ่มเพื่อน และยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ลานดี้, และกลาสสัน (Landry, & Glasson, 2008, p.
443) ที่ศึกษาหลักสูตรการจัดกิจกรรมการสอนวิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย โดยท าการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กและบทบาทของครูในการส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์พบว่าครูเป็นผู้ที่มีบทบาท
มากในการช่วยส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย และการให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้แบบ
ร่วมมือกันท าให้เด็กได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งท าให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น และมีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในระดับดี
2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 หลังการจัดประสบการณ์โดยเน้น
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01ซึ่งเป็นไป
ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้อาจเป็นเพราะการจัดประสบการณ์ที่มีบรรยากาศในการเรียนรู้ที่ดี มีการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ครูกับเด็ก และเน้นการจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติ รู้จักคิด และรู้จักค้นคว้าด้วยตนเอง โดย
ครูใช้ค าถามเพื่อกระตุ้นให้เด็กรู้จักคิดและแก้ปัญหา เป็นการส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการจัด
กิจกรรมจะเชื ่อมโยงพื้นฐานจากความรู้เดิม และใช้เทคนิคการจัดประสบการณ์โดยการสาธิต การทดลอง
การศึกษานอกห้องเรียน เพื่อให้ได้ประสบการณ์ตรง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ประสาท เนืองเฉลิม ที่ระบุไว้ว่าการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ต้องให้เด็กเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติการลงมือ
กระท าจริงด้วยตนเองการได้รับประสบการณ์ตรงจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 จัดกิจกรรมตามสภาพจริงสอดคล้องกับ
สภาพ แวดล้อมที่เด็กอาศัยอยู่เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เรียนรู้สิ่งใหม่นั้นมีฐานมาจากประสบการณ์
เดิมของเด็ก มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับเด็กซึ่งครูต้องเป็นผู้ให้ค าแนะน าก าลังใจเอื้ออ านวยช่วยเหลือให้เด็ก
เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองและสะท้อนความคิดระหว่างที่จัดกิจกรรมเรียนรู้เพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิดไตร่ตรอง
ถึงความเป็นไปได้เกี่ยวกับการกระท าที ่ปฏิบัติลงไป และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ศิริทัย ธโนปจัย ซึ่งได้ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนากิจกรรมส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย
ผลการวิจัยพบว่า เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์สูงกว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบปกติโดยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01 และนอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น