สรุปวิจัยเกี่ยวกับวิทยาสาสตร์สำหรับเด้กปฐมวัย
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ
1) ศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
2) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ประสบการณ์โดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ระหว่างก่อนกับหลังการจัดประสบการณ์
การวิจัย เรื่อง ผลการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาล
ปีที่ 2
1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่
2 ที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยเน้น
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ภาพรวมอยู่ในระดับดี
(
X
= 2.51, S.D. = 0.49) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ใช้กระบวนการจัดประสบการณ์โดยเน้นเด็กเป็นส าคัญ โดยให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง
มีการใช้สื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกับจุดประสงค์และเนื้อหาที่สอน เหมาะสม
กับวัย ความสนใจ และความต้องของเด็ก ประกอบกับกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบที่มุ่งเน้นทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ เช่น การสังเกต การฟัง การสาธิต การทดลองลงมือกระท าด้วยตนเอง โดยครูเป็นผู้เสนอแนะวิธีการค้นหา
ค าตอบ โดยใช้วิธีการต่างๆ พยายามชี้แนะแนวทางค้นค าตอบ เน้นกระบวนการที่เด็กเป็นผู้คิด ลงมือปฏิบัติ ศึกษา
ค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย โดยค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ท าให้การเรียนรู้เกิดขึ้น
ระหว่างที่เด็กมีส่วนร่วมโดยตรงในการท ากิจกรรม ท าให้มีความสามารถในการสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาด้วย
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ สอดคล้องกับหลักการของ วราภรณ์ รักวิจัย ที่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
กิจกรรมที่จะท าให้เด็กเกิดการเรียนรู้สูงสุดนั้น จะต้องเป็นกิจกรรมที่เด็กสนใจลงมือค้นคว้ากระท าด้วยตนเอง โดยมี
ครูเป็นผู้ชี้แนะและสนับสนุนคอยช่อยเหลือ เด็กท ากิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย สอดคล้องกับพัฒนาการ ด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา เป็นประสบการณ์ตรงจากการได้เล่นลงมือปฏิบัติจริงและมีการกระท าร่วมกับบุคคลอื่น
โดยเฉพาะกลุ่มเพื่อน และยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ลานดี้, และกลาสสัน (Landry, & Glasson, 2008, p.
443) ที่ศึกษาหลักสูตรการจัดกิจกรรมการสอนวิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย โดยท าการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กและบทบาทของครูในการส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์พบว่าครูเป็นผู้ที่มีบทบาท
มากในการช่วยส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย และการให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้แบบ
ร่วมมือกันท าให้เด็กได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งท าให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น และมีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในระดับดี
2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 หลังการจัดประสบการณ์โดยเน้น
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01ซึ่งเป็นไป
ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้อาจเป็นเพราะการจัดประสบการณ์ที่มีบรรยากาศในการเรียนรู้ที่ดี มีการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ครูกับเด็ก และเน้นการจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติ รู้จักคิด และรู้จักค้นคว้าด้วยตนเอง โดย
ครูใช้ค าถามเพื่อกระตุ้นให้เด็กรู้จักคิดและแก้ปัญหา เป็นการส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการจัด
กิจกรรมจะเชื ่อมโยงพื้นฐานจากความรู้เดิม และใช้เทคนิคการจัดประสบการณ์โดยการสาธิต การทดลอง
การศึกษานอกห้องเรียน เพื่อให้ได้ประสบการณ์ตรง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ประสาท เนืองเฉลิม ที่ระบุไว้ว่าการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ต้องให้เด็กเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติการลงมือ
กระท าจริงด้วยตนเองการได้รับประสบการณ์ตรงจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 จัดกิจกรรมตามสภาพจริงสอดคล้องกับ
สภาพ แวดล้อมที่เด็กอาศัยอยู่เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เรียนรู้สิ่งใหม่นั้นมีฐานมาจากประสบการณ์
เดิมของเด็ก มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับเด็กซึ่งครูต้องเป็นผู้ให้ค าแนะน าก าลังใจเอื้ออ านวยช่วยเหลือให้เด็ก
เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองและสะท้อนความคิดระหว่างที่จัดกิจกรรมเรียนรู้เพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิดไตร่ตรอง
ถึงความเป็นไปได้เกี่ยวกับการกระท าที ่ปฏิบัติลงไป และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ศิริทัย ธโนปจัย ซึ่งได้ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนากิจกรรมส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย
ผลการวิจัยพบว่า เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์สูงกว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบปกติโดยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01 และนอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัย
วันอังคารที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2562
สรุปบทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การสอนลูกเรื่องไฟฉายสำคัญอย่างไร
ไฟฉายเป็นเครื่องใช้ที่มีแสงไฟสว่างก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ใช้โดยทั่วไป เช่น คนเดินทางในที่มืดๆ หรือใช้ไฟฉายเพื่อการบันเทิง ( การเชิดหุ่นเงา การแสดงละคร ) แพทย์ใช้เครื่องมือส่องไฟตรวจสุขภาพของผู้ป่วย เป็นต้น ไฟฉายจึงเป็นสิ่งของต่างๆรอบตัวที่เด็กควรเรียนรู้ ดังปรากฏในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ที่ได้กำหนดสาระที่ควรเรียนรู้ เรื่อง สิ่งต่างๆรอบตัว โดยที่หลักสูตรมุ่งให้เด็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งสอดคล้องสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ที่ได้เสนอการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 โดยกำหนดสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามมาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐานไว้ในสาระที่ 5 : พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อ สารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นปฐมวัย สำรวจการใช้พลังงานใกล้ตัวและบอกการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด 1 สำรวจการใช้พลังงานในชีวิตประจำวัน และสื่อสารผลการสำรวจด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับวัย การที่เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้เรื่องไฟฉายผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญนั้น มีจุดมุ่งหมายให้ครูผู้สอนได้นำไปจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาความรู้ รวมถึงการพัฒนากระ บวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัด การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย และเป็นการเตรียมพร้อมสำหรับการศึกษาในระดับต่อไป ดังนั้นการที่เด็กได้เรียนรู้เรื่องไฟฉายจึงมีความสำคัญที่ช่วยส่งเสริมให้เด็กพัฒนาเต็มตามศักยภาพในช่วงวัยที่ต้องเตรียมความพร้อมก่อนเรียนในระดับประถมศึกษาต่อไป
การสอนเรื่องไฟฉายมีประโยขน์ต่อเด็กอย่างไร
• เมื่อเด็กได้มีโอกาสสืบเสาะหาความรู้เรื่องไฟฉายได้แก่ แสงฉายมาจากไหน ทำไมต้องใช้ไฟฉาย เมื่อได้รับความรู้แล้ว เด็กจะได้ฝึกหัดอธิบายเรื่องที่ศึกษามา
• เด็กได้ทดลองใช้ไฟฉาย ย่อมทำให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสเพื่อการเรียนรู้
• เด็กได้ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีคือไฟฉายและวิธีการต่างๆจะทำให้เด็กเห็นคุณค่าของเทคโนโลยี
• เด็กจะเป็นผู้ที่มีความสามารถในการอธิบายสิ่งที่ค้นพบตามข้อมูลหลักฐานและองค์ความรู้อย่างมีเหตุผล
• เด็กจะเป็นผู้มีความสามารถในการนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ได้อย่างชัดเจนเที่ยงตรง มีเหตุผลกับเพื่อนร่วมงาน และตอบคำถามได้
• ทักษะการสังเกต
• ทักษะการจำแนก
• ทักษะการวัด
• ทักษะการสือความหมาย
ครูจะสอนไฟฉายให้ลูกที่โรงเรียนอย่างไร
• กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ครูปิดไฟในห้อง ส่องไฟฉายหลายๆกระบอก แล้วให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระตามจังหะ ให้เด็กเคื่อนไหวไปในลำแสงที่ไฟฉายส่อง
• กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ให้เด็กเรียนรู้เรื่องรูปร่าง ลักษณะของไฟฉายจากการได้สัมผัส ส่วนประกอบของไฟฉาย แต่ละส่วนมีหน้าที่อย่างไร เช่น
1 กระจกหน้าไฟฉาย ทำมาจากวัสดุใสคือแก้วสีขาว ส่วนนี้ทำหน้าที่ป้องกันหลอดไฟ ทำหน้าที่ใหแสงสว่าง
2 กระบอกไฟฉาย มีลักษระเป็นกระบอก ใช้จับเวลาใช้งาน ภายในจะมีช่วงกลวงสำหรับเก็บแบตเตอรี่
3 ฝาปิดท้าย ใช้ป้องกันเพื่อไม่ให้แบตเตอรี่หลุดออกมา
พ่อแม่ผู้ปกครองจะสอนลูกเรื่องไฟฉายอย่างไร
• ทดลองใช้ไฟฉายเล่นกับลูก ถามลูกว่า "เกิดอะไรขึ้น"
• เมื่อเกิดไฟดับที่บ้าน พ่อแม่เอาไฟฉายมาส่องแสงให้เกิดสว่าง พ่อแม่ร่วมสนทนาเอ่ยชื่อ ไฟฉาย ให้ลูกได้ยิน และให้ลูกถือไฟฉายส่องแสงบ้าง
• ใช้ไฟฉายเล่นเงากับลูก
• ทดลองการใช้ไฟฉายให้ลูกเห็น ตั้งแต่ ใส่แบตเตอรี่ กดสวิทซ์ และส่องไฟ
• หากไปร้านเครื่องใช้ไฟฟ้า ชี้แนะให้ลูกเห็นไฟฉายที่ร้านวางจำหน่าย
• ให้ลูกตัดภาพไฟฉายมาทำเป็นแฟ้ม ฝึกการเล่าเรื่องไฟฉาย
• ช่วยกันเลือกหนังสือที่เกี่ยวกับเรื่องไฟฉาย
• ให้ลูกมีส่วนร่วมสืบค้นข้อมูลเรื่องไฟฉายจากคอมพิวเตอร์
เกร็ดความรู้เพื่อครู
• ไฟฉายเป็นแหล่งกำเนิดของแสงที่มนุษย์สร้างขึ้นชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกับ หลอดไฟ และเทียนไข
• เมื่อแสงจากไฟฉายกระทบกับวัตถุใดๆ แสงจะสะท้อนกับวัตถุมาเข้าตาเรา เราจึงเห็นวัตถุเหล่านั้น
สรุป สื่อการสอน
วีดีโอนี้จะสอนเกี่ยวกับ
- เรียนรู้เรื่อง คุณสมบัติต่างๆ ของอากาศ
- การทดลองเพื่อพิสูจน์ว่า อากาศมีน้ำหนักหรือไม่, อากาศต้องการที่อยู่หรือไม่ และ อากาศมีตัวตน และสัมผัสได้หรือไม่
- บรรยากาศ คืออะไร
บทเรียนอิเล็กทรอกนิกส์ วิชา วิทยาศาสตร์ ป.3 ชุดนี้
เป็นสื่อการเรียนการสอนที่นำมาจาก
โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย
จัดทำโดยสำนักงานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป็นเพียงผู้เผยแพร่เท่านั้น
เนื่องจากสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ชุดนี้มีประโยชน์มาก
จึงอยากเป็นส่วนหนึ่งร่วมเผยแพร่ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ในการเรียนการสอน สำหรับนักเรียน และผู้ปกครองที่สนใจ
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
http://www.otpchelp.com
วันนี้อาจารย์ได้ให้ไปดูงานก่อนเมืองทองธานีเกี่ยวกับมหกรรมแห่งชาติ
บันทึกการเรียนครั้งที่ 4
📕ความรู้ที่ได้รับ📕
1 .นิทรรศการภารกิจดวงจันทร์นิทรรศการมีความสำคัญเกี่ยวกับจุดหมายที่หลายคนคิดว่าเป็นไปไม่ได้ทุกเรื่องราวมหัศจรรย์แห่งดวงจันทร์จุดเริ่มต้นของความฝันและแรงขับเคลื่อนการเดินไปสู่อวกาศสัมผัสประสบการณ์เตรียมความพร้อมเกี่ยวกับนักบินอวกาศตื่นตาตื่นใจไปกับนาทีประวัติศาสตร์
2.ทัศการนิโคลาส์ ยอดนักประดิษฐ์พูดลูกนิทรรศการนี้เป็นการสัมผัสชีวิตและผลงานอันน่าทึ่งของโคร่านักประดิษฐ์ที่มีแนวคิดก้าวล้ำเกินยุตื่นตาตื่นใจไปกับผลงานที่สร้างเรื่องเล่าอัจฉริยะพูดอย่างนี้อาจจะปลุกวิญญาณนักประดิษฐ์เปลี่ยนพลังงานความคิดสร้างสรรเป็นนวัตกรรมชิ้นใหม่ที่เรากำลังรอคอยในงานก็จะพบกับการสร้างไฟฟ้าแรงสูงกว่าหมื่อโวลล์ แล้วก็เป็นผลงานนายประดิษฐ์เที่ยงรอคอยการต่อยอด
3.ซุ้มนิทรรศการเทิดพระเกียรติพระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทยกลุ่มนี้เขาก็ใจเอ่ยเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวท่านทรงสนพระทัยในวิทยาการสาขาต่างๆที่นำมาเป็นประโยชน์ให้แก่ประเทศไทยโดยเฉพาะ พระอัจฉริยภาพทางด้านภาษาและดาราศาสตร์ใบงานก็จะพบกับตัวอย่างเอกสารตำราคัมภีร์ที่ท่านทรงศึกษาคัมภีร์สุริยะ ขอภูวดลทัศนัยที่จัดแสดงเวลามาตรฐานปานกลางตำแหน่งทางราชการ
4.ทัศการมหัศจรรย์ นิทรรศการนี้ก็จะมีตารางธาตุที่ตื่นตาตื่นใจเพราะว่าเค้าจะขึ้นมาเป็นตารางธาตุยักษ์บรรยากาศในเมืองแห่งชาติการจัดแสดงประโยชน์ของธาตุในแต่ละชนิดในยุคปัจจุบันเรียนรู้พื้นฐานความรู้เรื่องผ้าจากกิจกรรมต่างๆในงานก็จะมีกิจกรรมมหัศจรรย์การ์ดเปลี่ยนสีและชุมการทดลองการเผาศาลประกอบเพื่อดูความแตกต่าง
5.นิทรรศการพินิจ พิพิธ -พันธุ์
ประกันก็จะมีความรู้เกี่ยวกับการรู้จักนะเข้าใจความหลากหลายทางชีวภาพอย่างล้ำลึกรวมถึงนักธรรมชาติวิทยาและนักวิทยาศาสตร์มีความสำคัญและเกี่ยวข้องกับการศึกษาความหลากหลายทาง ชีวภาพทั้งของไทยและของต่างประเทศก็จะมีเกี่ยวกับเรื่องสสจะมาจากครั้งสมบัติเสื้อผ้าที่มีตัวอย่างการจัดแสดงมากมายในรูปแบบของตัวอย่างการดองตัวอย่างแห้งและมีสตาฟเอาไว้
6.นิทรรศการ พลาสติกพลิกโลก
มีทักษะการนี้จะเกี่ยวกับห้องเรียนรู้เกี่ยวกับวัตถุจากเรื่องราวในประวัติศาสของมูลค่าแล้วก็มีกิจกรรมร่วมกันค้นหาว่าพลาสติกเกิดประโยชน์อย่างไร เรียนรู้การสร้างแบรนด์บันดาลใจจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมลูกของหน่วยงานต่างๆที่ร่วมแรงร่วมใจกันเพื่อช่วยเหลือโลก ของเรา
7.นิทรรศการข้าวคือชีวิตนิทรรศการนี้เค้าก็จำลองบรรยากาศท้องทุ่งแปลงนาข้าวและสัมผัสต้นข้าวตั้งแต่เริ่มปลูกข้าวจนเป็นต้นกล้ามีหุ่นไล่กามีการจำลองวิถีชีวิตการทำนาไทนาหว่านข้าวหวานผลงานชิ้นแบบสี่สัมผัสลงมือทำด้วยตัวเองชิมอาหารที่ทำจากข้าวผลิตภัณฑ์จากข้าว
8.นิทรรศการย้อนอดีตสิ่งประดิษฐ์พลิกความคิด สู่อนาคต
ในงานก็จะมีพื้นที่สำหรับการเล่นเรียนรู้ลงมือกระทำต่างๆง่ายเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันช่วงประวัติศาสของสิ่งประดิษฐ์หรือสร้างขึ้นและทำให้การดำรงค์ชีวิตเปลี่ยนไปได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการการออกแบบทางวิศวกรรมซึ่ง ทุกคนสามารถเป็นนักประดิษฐ์หรือวิศวกรรมได้ในงานก็จะมีห้องครัวนักประดิษฐ์ย้อนไปในอดีตของสิ่งประดิษฐ์เรียนรู้วิวัฒนาการแล้วก็มีการเล่นเกมแก้ปัญหาตอบโจทย์สิ่งประดิษฐ์ของจากวัสดุแบบง่ายเพื่อฝึกทักษะวิศวะกร
บันทึกการเรียนครั้งที่ 4
📕ความรู้ที่ได้รับ📕
1 .นิทรรศการภารกิจดวงจันทร์นิทรรศการมีความสำคัญเกี่ยวกับจุดหมายที่หลายคนคิดว่าเป็นไปไม่ได้ทุกเรื่องราวมหัศจรรย์แห่งดวงจันทร์จุดเริ่มต้นของความฝันและแรงขับเคลื่อนการเดินไปสู่อวกาศสัมผัสประสบการณ์เตรียมความพร้อมเกี่ยวกับนักบินอวกาศตื่นตาตื่นใจไปกับนาทีประวัติศาสตร์
2.ทัศการนิโคลาส์ ยอดนักประดิษฐ์พูดลูกนิทรรศการนี้เป็นการสัมผัสชีวิตและผลงานอันน่าทึ่งของโคร่านักประดิษฐ์ที่มีแนวคิดก้าวล้ำเกินยุตื่นตาตื่นใจไปกับผลงานที่สร้างเรื่องเล่าอัจฉริยะพูดอย่างนี้อาจจะปลุกวิญญาณนักประดิษฐ์เปลี่ยนพลังงานความคิดสร้างสรรเป็นนวัตกรรมชิ้นใหม่ที่เรากำลังรอคอยในงานก็จะพบกับการสร้างไฟฟ้าแรงสูงกว่าหมื่อโวลล์ แล้วก็เป็นผลงานนายประดิษฐ์เที่ยงรอคอยการต่อยอด
3.ซุ้มนิทรรศการเทิดพระเกียรติพระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทยกลุ่มนี้เขาก็ใจเอ่ยเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวท่านทรงสนพระทัยในวิทยาการสาขาต่างๆที่นำมาเป็นประโยชน์ให้แก่ประเทศไทยโดยเฉพาะ พระอัจฉริยภาพทางด้านภาษาและดาราศาสตร์ใบงานก็จะพบกับตัวอย่างเอกสารตำราคัมภีร์ที่ท่านทรงศึกษาคัมภีร์สุริยะ ขอภูวดลทัศนัยที่จัดแสดงเวลามาตรฐานปานกลางตำแหน่งทางราชการ
4.ทัศการมหัศจรรย์ นิทรรศการนี้ก็จะมีตารางธาตุที่ตื่นตาตื่นใจเพราะว่าเค้าจะขึ้นมาเป็นตารางธาตุยักษ์บรรยากาศในเมืองแห่งชาติการจัดแสดงประโยชน์ของธาตุในแต่ละชนิดในยุคปัจจุบันเรียนรู้พื้นฐานความรู้เรื่องผ้าจากกิจกรรมต่างๆในงานก็จะมีกิจกรรมมหัศจรรย์การ์ดเปลี่ยนสีและชุมการทดลองการเผาศาลประกอบเพื่อดูความแตกต่าง
5.นิทรรศการพินิจ พิพิธ -พันธุ์
ประกันก็จะมีความรู้เกี่ยวกับการรู้จักนะเข้าใจความหลากหลายทางชีวภาพอย่างล้ำลึกรวมถึงนักธรรมชาติวิทยาและนักวิทยาศาสตร์มีความสำคัญและเกี่ยวข้องกับการศึกษาความหลากหลายทาง ชีวภาพทั้งของไทยและของต่างประเทศก็จะมีเกี่ยวกับเรื่องสสจะมาจากครั้งสมบัติเสื้อผ้าที่มีตัวอย่างการจัดแสดงมากมายในรูปแบบของตัวอย่างการดองตัวอย่างแห้งและมีสตาฟเอาไว้
6.นิทรรศการ พลาสติกพลิกโลก
มีทักษะการนี้จะเกี่ยวกับห้องเรียนรู้เกี่ยวกับวัตถุจากเรื่องราวในประวัติศาสของมูลค่าแล้วก็มีกิจกรรมร่วมกันค้นหาว่าพลาสติกเกิดประโยชน์อย่างไร เรียนรู้การสร้างแบรนด์บันดาลใจจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมลูกของหน่วยงานต่างๆที่ร่วมแรงร่วมใจกันเพื่อช่วยเหลือโลก ของเรา
7.นิทรรศการข้าวคือชีวิตนิทรรศการนี้เค้าก็จำลองบรรยากาศท้องทุ่งแปลงนาข้าวและสัมผัสต้นข้าวตั้งแต่เริ่มปลูกข้าวจนเป็นต้นกล้ามีหุ่นไล่กามีการจำลองวิถีชีวิตการทำนาไทนาหว่านข้าวหวานผลงานชิ้นแบบสี่สัมผัสลงมือทำด้วยตัวเองชิมอาหารที่ทำจากข้าวผลิตภัณฑ์จากข้าว
8.นิทรรศการย้อนอดีตสิ่งประดิษฐ์พลิกความคิด สู่อนาคต
ในงานก็จะมีพื้นที่สำหรับการเล่นเรียนรู้ลงมือกระทำต่างๆง่ายเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันช่วงประวัติศาสของสิ่งประดิษฐ์หรือสร้างขึ้นและทำให้การดำรงค์ชีวิตเปลี่ยนไปได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการการออกแบบทางวิศวกรรมซึ่ง ทุกคนสามารถเป็นนักประดิษฐ์หรือวิศวกรรมได้ในงานก็จะมีห้องครัวนักประดิษฐ์ย้อนไปในอดีตของสิ่งประดิษฐ์เรียนรู้วิวัฒนาการแล้วก็มีการเล่นเกมแก้ปัญหาตอบโจทย์สิ่งประดิษฐ์ของจากวัสดุแบบง่ายเพื่อฝึกทักษะวิศวะกร
รวมรูปภาพในงาน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
บันทึกการเรียนครั้งที่ 15 อาจารย์ไดสั่งทำงาน และแจกใบความรู้ ให้ทำงาน
-
วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2562 บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7 ดิฉันลาป่วยค่ะวันนี้เลยไม่ได้มาเรียน